[x] ปิดหน้าต่างนี้
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป   
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
เมนูหลัก
ติดต่อสอบถาม
blog สมาชิก
สถิติผู้เขียน blog 10 อันดับ
wave
[ มือใหม่ ]
2
admin
[ มือใหม่ ]
2
orean
[ มือใหม่ ]
2
KAT
[ มือใหม่ ]
1
yuy
[ มือใหม่ ]
1
aTon
[ มือใหม่ ]
1
fang
[ มือใหม่ ]
1
film
[ มือใหม่ ]
1
mild
[ มือใหม่ ]
1
Donus
[ มือใหม่ ]
1
บทความ blog ล่าสุดโดย
เพลงคริสต์มาสtortae
การดูแลรักษาสุภาพ ให้แข็งแรงaTon
ประเพณีวันเข้าพรรษาmild
พบจุดที่หนาวที่สุดในโลกเเห่งใหม่ !!orean
พบจุดที่หนาวที่สุดในโลกเเห่งใหม่ !!orean
อาเซียนDonus
การวาดภาพสีนำ้lovepop-123456
อาเซียนmikekung02
ลดความอ้วนสูตรนางเอก 5 กิโลกรัมใน 1 สัปดาห์yuy
ปรากฏการณ์ธรรมชาติMin-Mintra
ไลน์ โรงเรียนศรัทธาฯ

ติดต่อ สอบถาม

poll

   คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร


  1. ดีมาก
  2. ดี
  3. ปานกลาง
  4. แย่
  5. แย่มาก

  

   เว็บบอร์ด >> >>
เช็ก 3 พฤติกรรมทำ ท้องอืด อาหารไม่ย่อย พุงป่อง ท้องอืด, จุกเสียด, อาหารไม่ย่อย, แก้ท้องอืด  VIEW : 746    
โดย 4956

UID : ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว : 5
ตอบแล้ว :
เพศ :
ระดับ : 1
Exp : 100%
เข้าระบบ :
ออฟไลน์ :
IP : 178.128.17.xxx

 
เมื่อ : พุธ ที่ 30 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2562 เวลา 01:31:04   

เช็ก 3 พฤติกรรมทำ ท้องอืด อาหารไม่ย่อย พุงป่อง

ท้องอืด, จุกเสียด, อาหารไม่ย่อย, แก้ท้องอืด

กำจัดนิสัยเสียที่ทำให้ ท้องอืด อาหารไม่ย่อย
บ้านเมืองเรารุ่มรวยด้านวัฒนธรรมอาหาร ไปที่ไหนก็หาของกินได้ง่าย แถมอร่อยไปหมดทุกอย่าง เรื่องกินจึงกลายเป็นเรื่องใหญ่ของคนไทย แต่กินมากไปก็ ท้องอืด อาหารไม่ย่อย แต่นอกจากการกินเยอะๆ แล้ว ยังมีจากปัจจัยที่มาจากพฤติกรรมของตัวเราเองด้วย ที่ทำให้อาหารไม่ย่อยเสียอย่างนั้น ลองมาอ่านกันเลยค่ะ

สาเหตุของอาการท้องอืด
สาเหตุของท้องอืดท้องเฟ้อมักเกิดจากการกินเยอะ กินเร็ว กินอาหารย่อยยาก เช่น เนื้อสัตว์ ไขมัน อาหารรสจัด อาหารที่ทำให้ เกิดแก๊ส ได้แก่ ถั่ว ธัญพืช กะหล่ำปลี บรอกโคลี และต้นหอม อาหารรสเค็ม มีเกลือมาก โซเดียมสูง อย่างเบคอน แฮม ไส้กรอก เนื้อเค็ม การเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด จนถึงกลืนน้ำลายบ่อยจนทำให้ มีลมในกระเพาะมากเกินไป แต่บางครั้งอาการท้องอืดอาจเกิดจาก สาเหตุอื่น เช่น กระเพาะอาหารอักเสบ มีแผลในกระเพาะ เยื่อบุ ลำไส้อักเสบ หรือเป็นอาการท้องอืดก่อนมีประจำเดือนเนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน จนทำให้มีน้ำคั่งในร่างกายก็ได้

ท้องอืด, อาหารไม่ย่อย, แก้ท้องอืด, แก้อาหารไม่ย่อย


พฤติกรรมผิดๆ ทำให้ท้องอืด อาหารไม่ย่อย
● กินอาหารประเภทแป้ง เช่น พาสต้า สปาเกตตี ก๋วยเตี๋ยว และมันฝรั่งในอาหารมื้อเดียวกับเนื้อสัตว์ หรือผลไม้เยอะๆ

เนื่องจาก ในการย่อยอาหารประเภทโปรตีน ร่างกายจะใช้กรดในการย่อย แต่ใช้ด่างในการย่อยอาหารประเภทแป้ง ดังนั้นหากรับประทานอาหารต่างประเภทกันมากๆ จึงทำให้อาหารย่อยยากและเกิดแก๊สในกระเพาะ

● ดื่มเครื่องดื่มใส่โซดา น้ำอัดลม ไวน์มีฟอง และเบียร์ มากๆ

● ดื่มน้ำขณะรับประทานอาหาร เนื่องจากน้ำจะเจือจางน้ำย่อย ทำให้อาหารตกค้างในกระเพาะนานขึ้น และหากกินผลไม้ด้วย ผลไม้จะถูกหมักจนทำให้เกิดแก๊สง่ายขึ้น

แต่ถ้าสุดวิสัยเกิดอาการท้องอืดท้องเฟ้อขึ้นมา เราก็มีวิธีแก้แบบธรรมชาติบำบัดและแพทย์แผนไทยดังต่อไปนี้ค่ะ

รับมืออาการท้องอืด
● หั่นเหง้าและต้นตะไคร้แก่ เป็นฝอยประมาณ 5 ต้น หรือใช ้ขิงประมาณ 5 กรัม ทุบให้แตก ต้มกับน้ำ 3 แก้วให้งวดจนเหลือ 1 แก้ว ดื่มเป็นยาได้ทันที
● กินกระเทียมสดหลังอาหารครั้งละ 5-7 กลีบ จะช่วยแก้จุกเสียดได้
● ใช้ใบและยอดกะเพรา 25 กรัมต้มกับน้ำ 1 ลิตร ดื่มเมื่อมีอาการ
● กินมะละกอหลังมื้ออาหารเพื่อช่วยย่อย เพราะมะละกอมีเอนไซม์ปาเปอิน (Papain) ส่วนสับปะรดก็มีเอนไซม์โบรมีเลน (Bromelain)
ช่วยย่อยอาหารได้ เช่นกัน แต่ควรกินก่อนอาหารจะให้ผลดีกว่า
● กินขมิ้นชันครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 4 ครั้ง
● ดื่มยาธาตุน้ำแดงครั้งละ 1-2 ช้อนโต๊ะ
● การเดินเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยกระตุ้นการระบายลม เมื่อรู้สึกอึดอัด แน่นท้องให้เดินช้าๆ ประมาณ 15-20 นาทีจะช่วยให้คุณรู้สึกดีขึ้น

ปวดท้อง, ท้องอืด, อาหารไม่ย่อย, แก้ท้องอืด, แก้อาหารไม่ย่อย
ปรับพฤติกรรมการกินให้ถูกต้อง ป้องกันอาการท้องอืด อาหารไม่ย่อยได้
ส่วนใครที่มองหายาแผนปัจจุบันก็เช่น ยา Simethicone ที่มีขายตามท้องตลาด ได้แก่ air-X, Mylom รับประทาน 1-2 เม็ด ทุก
4-6 ชั่วโมง ยาช่วยย่อย (เอนไซม์) เช่น Magesto-F, Combizym 1-2 เมด็ ทุก 4-6 ชั่วโมง ยาปรับการทำงานของกระเพาะ เพิ่มการ
เคลื่อนตัวของกระเพาะ เช่น Domperidone 1-2 เม็ด กินก่อนอาหาร 30 นาที

อย่างไรก็ตาม อาการท้องอืดท้องเฟ้อก็อาจมีสาเหตุจากอย่างอื่นได้เช่นกัน

ดังนั้น หากปวดท้องไม่หาย อาเจียน มีไข้ตัวร้อน ข้อเท้าบวม หรือมีอาการท้องอืดเรื้อรังและอาการทรุดลง ควรรีบไปพบแพทย์ทันทีนะคะ

ข้อมูลจากคอลัมน์ SELF HEALTH CARE นิตยสาร HEALTH & CUISINE ปีที่ 10 ฉบับที่ 111

รวบรวมเนื้อหาโดย UFA369 เว็บเกมส์ UFABET อันดับ 1 ของไทย
สมัคร แทงบอล และ คาสิโนออนไลน์ ที่ดีที่สุด