[x] ปิดหน้าต่างนี้
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป   
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
เมนูหลัก
ติดต่อสอบถาม
blog สมาชิก
สถิติผู้เขียน blog 10 อันดับ
wave
[ มือใหม่ ]
2
admin
[ มือใหม่ ]
2
orean
[ มือใหม่ ]
2
KAT
[ มือใหม่ ]
1
yuy
[ มือใหม่ ]
1
aTon
[ มือใหม่ ]
1
fang
[ มือใหม่ ]
1
film
[ มือใหม่ ]
1
mild
[ มือใหม่ ]
1
Donus
[ มือใหม่ ]
1
บทความ blog ล่าสุดโดย
เพลงคริสต์มาสtortae
การดูแลรักษาสุภาพ ให้แข็งแรงaTon
ประเพณีวันเข้าพรรษาmild
พบจุดที่หนาวที่สุดในโลกเเห่งใหม่ !!orean
พบจุดที่หนาวที่สุดในโลกเเห่งใหม่ !!orean
อาเซียนDonus
การวาดภาพสีนำ้lovepop-123456
อาเซียนmikekung02
ลดความอ้วนสูตรนางเอก 5 กิโลกรัมใน 1 สัปดาห์yuy
ปรากฏการณ์ธรรมชาติMin-Mintra
ไลน์ โรงเรียนศรัทธาฯ

ติดต่อ สอบถาม

poll

   คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร


  1. ดีมาก
  2. ดี
  3. ปานกลาง
  4. แย่
  5. แย่มาก

  

   เว็บบอร์ด >> >>
3 ความยืดหยุ่มของอุปสงค์และอุปทาน  VIEW : 806    
โดย 5762

UID : ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว : 1
ตอบแล้ว :
เพศ :
ระดับ : 1
Exp : 20%
เข้าระบบ :
ออฟไลน์ :
IP : 178.128.118.xxx

 
เมื่อ : พุธ ที่ 16 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2562 เวลา 21:18:29   

3 ความยืดหยุ่มของอุปสงค์และอุปทาน

ความหมายของความยืดหยุ่น
ความยืดหยุ่น (Elasticity) หมายถึง เป็นค่าที่ใช้วัดความมากน้อยของการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามต่อการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรนำการพิจารณาค่าความยืดหยุ่นพิจารณาจากตัวเลข โดยการเปลี่ยนแปลงมีค่ามาก แสดงว่ามีความยืดหยุ่นมาก และการเปลี่ยนแปลงมีค่าน้อย แสดงว่ามีความยืดหยุ่นน้อย เครื่องหมายของความยืดหยุ่น แสดงถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรนำและตัวแปรตาม โดย เครื่องหมาย + แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน เครื่องหมาย - แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงข้ามกัน

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์
ความยืดหยุ่นเป็นค่าที่ชี้ให้เห็นว่าปริมาณเสนอซื้อหรือปริมาณเสนอขายมีความเปลี่ยนแปลงมากน้อยเพียงใด เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์หรืออุปทาน ถ้ามีความเปลี่ยนแปลงมากเรียกว่ามีความยืดหยุ่นมาก ถ้ามีความเปลี่ยนแปลงน้อยเรียกว่ามีความยืดหยุ่นน้อย ถ้าไม่เปลี่ยนแปลงแสดงว่าไม่มีความยืดหยุ่นเลย
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ หมายถึง เปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อในขณะใดขณะหนึ่ง เมื่อตัวแปรอื่นๆที่เป็นตัวกำหนดปริมาณเสนอซื้อนั้นเปลี่ยนแปลงไป 1 เปอร์เซนต์ ซึ่งเราจะศึกษากัน 3 ตัวคือ

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น

ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาและลักษณะของเส้นอุปสงค์


เราไดศึกษาแล้วว่าปริมาณการเสนอซื้อ(Qd ) และปริมาณการเสนอขาย(QS ) ถูก กา หนดมาไดอ ้ ยา่ งไรและสามารถเปลี่ยนแปลงไปไดเ ้ มื่อปัจจยัที่มีอิทธิพลกา หนด Qd & QS มีการ เปลี่ยนแปลงอยา่ งไรกด ็ีเมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไป ปริมาณการเสนอซ้ือหรือปริมาณการเสนอ ขายในสินคา ้ แต่ละชนิดจะมีการเปลี่ยนแปลงไม่เท่ากนั จึงไม่อาจจะนา เอามาเปรียบเทียบกนัไดว ้ า่ สินคา ้ใดมีปริมาณการเสนอซ้ือหรือปริมาณการเสนอขายที่เปลี่ยนแปลงไปมากกวา่ กนั เนื่องจากขนาด ของราคาและปริมาณ ตลอดจนหน่วยของสินคา ้ แตกต่างกนั แมว ้ า่ เราจะมีค่า slope ซ่ึงช้ีใหเห ็ นการ เปลี่ยนแปลงของP & Q กต ็ าม แต่จากปัญหาที่กล่าวมาจึงไม่สามารถนา ค่า slope มาวัดขนาดการ เปลี่ยนแปลงของ Qd & QS ของสินคา ้ แต่ละชนิดมาเปรียบเทียบกนัได ้เครื่องมือที่จะใช้วัดการ เปลี่ยนแปลงของ Qd & QS ในสินคา ้ แต่ละชนิดคือความยดืหยนุ่ (Elasticity) ซ่ึงใชว ้ ดัไดท ้ ้งัดา ้ นอุป สงค์และอุปทาน อันเป็ นแนวความคิดของนักเศรษฐศาสตร์ชื่อ Alfred Marshall ความยดืหยนุ่ จะเป็ นการแสดงความสมั พนัธ์ระหวา่ งปรากฎการณ์2 อยา่ งวา่ มีความเกี่ยวข้องกันอย่างไรและมีค่ามากนอ ้ ยเพียงไร ค่าความยดืหยนุ่ จะบอกวา่ ถ้าหากปรากฎการณ์ของเหตุมีการ เปลี่ยนแปลงไป 1% ปรากฎการณ์ของผลจะเปลี่ยนแปลงไปกี่%

ค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน
โมเดลของอุปสงค์และอุปทาน อธิบายว่า ตลาดมีแนวโน้มที่จะเข้าสู่ดุลยภาพ (equilibrium) ซึ่งปริมาณอุปสงค์และปริมาณอุปทานจะเท่ากัน เรียกราคาที่ภาวะดุลยภาพว่า ราคาดุลยภาพ และปริมาณสินค้าที่ภาวะนี้ว่า ปริมาณดุลยภาพ หากปริมาณอุปสงค์มากกว่าปริมาณอุปทาน ซึ่งเกิดเมื่อราคาสินค้าต่ำกว่าราคาดุลยภาพของสินค้านั้น จะเกิดการขาดแคลนสินค้า หรือเรียกว่ามีอุปสงค์ส่วนเกิน ในขณะที่เมื่อปริมาณอุปทานมากกว่าปริมาณอุปสงค์ คือเมื่อราคาสินค้าสูงกว่าราคาดุลยภาพ จะเกิดสินค้าล้นตลาด หรืออุปทานส่วนเกิน โดยเมื่อเกิดกรณีเหล่านี้ ผู้ซื้อและผู้ขายในตลาดจะตอบสนองจนกระทั่งตลาดเข้าสู่ดุลยภาพต่อเนื่องกัน
สิ่งที่สำคัญอย่างหนึ่งในหลักการของอุปสงค์และอุปทานได้แก่ความยืดหยุ่น (elasticity) ในทฤษฏีของอุปสงค์และอุปทาน ความยืดหยุ่นคือการวัดการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงค์หรืออุปทานต่อปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์หรืออุปทาน การศึกษาความยืดหยุ่นที่มักนำมาพิจารณาคือความยืดหยุ่นต่อราคา ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงค์หรืออุปทานที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงของราคา

ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน
อุปทานของสินค้าเกษตรหรือปริมาณความต้องการขาย ขึ้นกับปัจจัยหลายประการ ทั้งนี้หากปัจจัยเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปจะส่งผลให้อุปทานเปลี่ยนไปด้วย ตัวอย่างปัจจัยสำคัญที่ กำหนดอุปทาน เช่น
สภาพดินฟ้าอากาศและฤดูกาล สภาพอากาศมีผลต่อปริมาณผลผลิตของสินค้าเกษตร เช่น หาก สภาพอากาศเอื้ออำนวย ผลผลิตการเกษตรที่ออกมาจะมีมาก นอกจากนี้ สินค้าเกษตรหลายชนิด
ออกเป็นฤดูกาล (Seasonality) ซึ่งจะมีผลต่ออุปทานสินค้าเกษตรในช่วงนั้นๆ เช่น ผลผลิตข้าวนาปี จะออกมามากในช่วงปลายปี เป็นต้น
จำนวนพื้นที่เพาะปลูก การเพิ่ม/ลดพื้นที่เพาะปลูกจะส่งผลต่อปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น/ลดลง
ผลผลิตต่อไร่ (Yield) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุ์พืช ช่วยให้สามารถผลิต สินค้าเกษตรได้เพิ่มขึ้น โดยใช้พื้นที่เท่าเดิม หรือมีต้นทุนต่ำลง
ราคาผลผลิตชนิดอื่น การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าชนิดหนึ่งอาจมีผลกระทบต่อปริมาณผลผลิต หรืออุปทานของสินค้าอีกชนิดหนึ่งได้ เช่น หากราคายางพาราสูงขึ้นมาก อาจจูงใจให้เกษตรกร ที่ปลูกสินค้าอื่น เช่น ข้าวโพด หันมาปลูกยางพาราแทน ส่งผลให้ผลผลิตยางพาราเพิ่มขึ้น ขณะที่ผลผลิตข้าวโพดลดลง เป็นต้น

รวบรวมเนื้อหาโดย UFA369 เว็บเกมส์ UFABET อันดับ 1 ของไทย
สมัคร แทงบอล และ คาสิโนออนไลน์ ที่ดีที่สุด