[x] ปิดหน้าต่างนี้
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป   
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
เมนูหลัก
ติดต่อสอบถาม
blog สมาชิก
สถิติผู้เขียน blog 10 อันดับ
wave
[ มือใหม่ ]
2
admin
[ มือใหม่ ]
2
orean
[ มือใหม่ ]
2
KAT
[ มือใหม่ ]
1
yuy
[ มือใหม่ ]
1
aTon
[ มือใหม่ ]
1
fang
[ มือใหม่ ]
1
film
[ มือใหม่ ]
1
mild
[ มือใหม่ ]
1
Donus
[ มือใหม่ ]
1
บทความ blog ล่าสุดโดย
เพลงคริสต์มาสtortae
การดูแลรักษาสุภาพ ให้แข็งแรงaTon
ประเพณีวันเข้าพรรษาmild
พบจุดที่หนาวที่สุดในโลกเเห่งใหม่ !!orean
พบจุดที่หนาวที่สุดในโลกเเห่งใหม่ !!orean
อาเซียนDonus
การวาดภาพสีนำ้lovepop-123456
อาเซียนmikekung02
ลดความอ้วนสูตรนางเอก 5 กิโลกรัมใน 1 สัปดาห์yuy
ปรากฏการณ์ธรรมชาติMin-Mintra
ไลน์ โรงเรียนศรัทธาฯ

ติดต่อ สอบถาม

poll

   คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร


  1. ดีมาก
  2. ดี
  3. ปานกลาง
  4. แย่
  5. แย่มาก

  

   เว็บบอร์ด >> >>
อบเชย ช่วยลดน้ำตาลในเลือด (ต่อ)  VIEW : 841    
โดย 4891

UID : ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว : 105
ตอบแล้ว : 11
เพศ :
ระดับ : 8
Exp : 69%
เข้าระบบ :
ออฟไลน์ :
IP : 104.131.176.xxx

 
เมื่อ : อังคาร ที่ 8 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2562 เวลา 21:38:36   

นอกจากลดน้ำตาลในเลือดแล้ว อบเชย ยังทำให้ท้องเป็นปกติดี แก้อาการจุกเสียด แน่นท้อง ขับลม ช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหาร แก้ท้องร่วง ขับปัสสาวะ ย่อยไขมัน (อาจเป็นเพราะไปช่วยกระตุ้นการสร้างน้ำย่อยที่ใช้ในการย่อยไขมัน) ทำให้สดชื่น แก้อ่อนเพลีย มีสารต้านแบคทีเรีย และสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ (ผลงานวิจัยจากสหรัฐอเมริกา)
     นอกจากการกินผงอบเชยบดในแคปซูลแล้ว เราใช้อบเชยเป็นปรุงอาหารทั้งคาวและหวาน และปรุงยา เช่น ใส่ในเครื่องผัดเช่นผงกระหรี่ หรือใสร่วมกับโป้ยกั๊กในต้มพะโล้ ส่วนของหวานนั้นใส่ในเบเกอรี่ ลูกอม และใช้อบเชยบดละเอียดโรยหน้ากาแฟ เป็นต้น หากซื้ออบเชยชนิดเป็นชนิดเป็นแผ่นม้วนหลอดเพื่อนำมาบดใช้เอง ควรเลือกที่ใหม่และยังไม่ถูกนำไปต้มสกัดเอารสกลิ่นไปใช้ก่อนแล้ว หากเลือกไม่ดีอาจใช้ไม่ได้ผล จึงควรคำนึงในเรื่องคุณภาพและชนิดของอบเชยชนิดที่ใช้ด้วย นอกจาการใช้เปลือกตำราไทยยังระบุว่ารากและใบมีกลิ่นหอม รสสุขุม ใช้ต้มดื่มขับลมบำรุงธาตุ แก้ท้องอืดเฟ้อ
     สรรพคุณที่กล่าวถึง คือ ส่วนที่ละลายน้ำได้ ไม่ใช่น้ำมันที่กลั่นได้ (Cinnamon Oil) ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมแต่งกลิ่น เหล้า ขนมหวาน สบู่ และยา เป็นต้น อบเชยชนิดหลอดชาวตะวันตกนิยมใช้คนกาแฟ ชา หรือโกโก้ ซึ่งMHPC ก็จะละลายออกมาอยู่ในเครื่องดื่มเหล่านี้ และให้ผลในการควบคุมระดับน้ำตาลเช่นกัน แต่เราไม่สามารถทราบถึงปริมาณ MHPC ซึ่งละลายอยู่ว่ามีปริมาณเท่าไรได้ ในต้นอบเชยที่อายุมากกว่า 6 ปี นำเปลือกลำต้น ใบ และกิ่ง มาสกัดน้ำหอมระเหยได้ โดยเฉพาะอบเชยญวนมีน้ำหอมระเหยมากถึง 2.5%
     อบเชย(Cinnamon) อยู่ในวงศ์ Lauraceae สกุล Cinnamomum พบเฉพาะในทวีปเอเซียและออสเตรเลีย มีมากกว่า 50 ชนิด ส่วนในประเทศไทยพบถึง 16 ชนิด ซึ่งส่วนใหญ่เปลือกจะหนา มีกลิ่นหอมอ่อนส่วนที่นำมาใช้ คือ เนื้อไม้ชั้นในที่แห้งแล้วของต้นอบเชย มีสีน้ำตาลอมแดง ในประเทศไทยและชวา ก็ดีขึ้นได้ดีในประเทศไทย ปลูกเพียง 3 ปี ก็มีผลผลิตขายได้แล้ว        อบเชยเป็นไม้ยืนต้น ต้นสูงราว 4-10 เมตรเป็นต้นไม้ขนาดกลาง ใบและเปลือกมีกลื่นหอม ใบมีลักษณะเดี่ยวเรียงตรงข้ามกัน ตอกจะออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง เป็นดอกย่อยสีเหลืองอ่อน พืชในตระกูลเดียวกัน เช่น ชะเอม กะเพราะต้น ข่าต้น การบูรและเทพทาโร จำแนกออกเป็น 5 ชนิด คือ        1. อบเชยศรีลังการ (Cinnamomum Zeylanicum) คนไทยเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "อบเชยเทศ" มีราคาแพงที่สุด      2. อบเชยอินโดนีเซีย หรืออบเชยชวา (Cinnamomum Burmanii Blume) ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน      3. อบเชยญวน (Cinnamomum Loureirii Nees) มีรสหวานแต่ไม่ค่อยหอม ปลูกได้ดีมากในประเทศไทย และประเทศไทยเราส่งออกอบเชยชนิดนี้      4. อบเชยจีน (Cinnamomum Cassia Nees ex.Blume) มีเปลือกหนาและเนื้อหายาบเป็นชนิดที่ ดร.แอนเดอร์สันใช้ศึกษาวิจัย      5. อบเชยไทย (Cinnamomum bejolghota) หรือ อบเชยต้น (C.iners Rein w.ex.Blume)พบในป่าเขาที่ยังอุดมสมบูรณ์ในประเทศ แต่ยังไม่ใช้นำมาปลูกเพื่อผลิดเปลือกอบเชย อบเชยไทยมีมากกว่า 16 สายพันธุ์ และยังไม่เคยมีการศึกษาวิจัยด้านสรรพคุณ เปลือกอบเชยไทย ซึ่งมีเปลือกหนากว่าอบเชยชนิดอื่น

 

แทงบอลออนไลน์ UFA23.com เว็บไซต์อันดับหนึ่ง
เว็บมาตรฐานระดับสากลการันตีด้วยประสบการณ์ในการดูแลและให้บริการเว็บ พนันออนไลน์ มานานหลายปี มั่นคงปลอดภัย 100%