เพื่อป้องกันอันตรายแก่ชีวิตหรือร่างกายของมนุษย์ หรือสัตว์อื่น หรือป้องกันความเสียหายที่จะเกิดแก่ทรัพย์สิน (๗) การกระทําใด ๆ ต่อร่างกายสัตว์ซึ่งเข้าลักษณะของการประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ โดย ผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์หรือผู้ซึ่งได้รับยกเว้นให้กระทําได้ ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๓๒ เจ้าของสัตว์หรือผู้
ใด การฆ่าสัตว์ในกรณีที่สัตวแพทย์เห็นว่าสัตว์ป่วย พิการ หรือบาดเจ็บและไม่สามารถเยียวยา หรือรักษาให้มีชีวิตอยู่รอดได้โดยปราศจากความทุกข์ ทรมาน (๕) การฆ่าสัตว์ตามพิธีกรรมหรือความเชื่อทางศาสนา (๖) การฆ่าสัตว์ในกรณีที่มีความจําเป็น ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดตามมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๔
หรือฝ่าฝืนมาตรา ๒๓ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท ศาลอาจสั่งห้ามมิให้เจ้าของหรือผู้กระทําความผิดนั้นครอบครองสัตว์ดังกล่าวและมอบให้หน่วยงานของรัฐหรือบุคคลที่ โดยไม่ต้องขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์จากสัตวแพทยสภาตามกฎหมายวาด้วยวิชาชีพการสัตวแพทย์ หมวด ๘ บทกําหนด
โทษ มาตรา ๓๑ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๐ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรือ เห็นสมควรเป็นผู้ครอบครองหรือดูแลสัตว์นั้นต่อไป มาตรา ๓๔ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๒๘ ภายในระยะเวลาอันสมควรแต่ไม่เกินสิบห้าวัน ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๓ ในกรณีที่ศาลได้พิพากษาลงโทษผู้ใด
ตามมาตรา ๓๑ หรือ มาตรา ๓๒ หากศาลเห็นว่าการให้สัตว์นั้นยังอยู่ในความครอบครองของเจ้าของหรือของผู้กระทําความผิดนั้นต่อไป สัตว์นั้นอาจจะถูกทารุณกรรมหรือได้รับการจัดสวัสดิภาพสัตว์ที่ไม่เหมาะสมอีก ถ้าผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล้วไม่ชําระเงินค่าปรับภายในระยะเวลาที่กําหนดตามวรรคสอง ให้ดําเนิน
คดีต่อไป พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตรา ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท มาตรา ๓๕ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียวให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจเปรียบเทียบได้ เมื่อผู้ต้องหาได้ชําระเงินค่าปรับตามจํานวนที่ เปรียบเทียบ “พระราชบัญญัติ
ป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๗” ขึ้นไว้ โดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยมี ตัวอย่างคำนิยาม การป้องกันการทารุณ กรรมสัตว์ และบทลงโทษต่างๆดังนี้ คำนิยาม เช่น “สัตว์” หมายความว่า สัตว์ที่โดยปกติเลี้ยงไว้เพื่อเป็นสัตว์บ้าน สัตว์เลี้ยงเพื่อใช้งาน สัตว์เลี้ยง เพื่อใช้เป็นพาหนะ สัตว์เลี้ยง
เพื่อใช้เป็นเพื่อน สัตว์เลี้ยงเพื่อใช้เป็นอาหาร สัตว์เลี้ยงเพื่อใช้ในการแสดง หรือสัตว์เลี้ยงเพื่อใช้ในการอื่นใด ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีเจ้าของหรือไม่ ก็ตาม และให้หมายความรวมถึงสัตว์ที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด “การทารุณกรรม” หมายความว่า การกระทําหรืองดเว้นการกระทําใด ๆ ที่ทําให้สัตว์ได้รับความทุกข์ทรมานไม่ว่าทาง
ร่างกายหรือจิตใจ ได้รับความเจ็บปวดความเจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรืออาจมีผลทําให้สัตว์นั้นตาย และให้ หมายความรวมถึงการใช้สัตว์พิการ สัตว์เจ็บป่วย สัตว์ชราหรือสัตว์ที่กําลังตั้งท้อง เพื่อแสวงหาประโยชน์ ใช้สัตว์ประกอบกามกิจ ใช้สัตว์ทํางานจนเกินสมควรหรือใช้ให้ทํางานอันไม่สมควร เพราะเหตุที่สัตว์นั้นเจ็บป่วย ชราหรืออ่อนอายุ “การจัด
สวัสดิภาพสัตว์” หมายความว่า การเลี้ยงหรือการดูแลให้สัตว์มีความ เป็นอยู่ในสภาวะที่เหมาะสม มีสุขภาพอนามัยที่ดี มีที่อยู่ อาหาร และน้ําอย่างเพียงพอ “เจ้าของสัตว์” หมายความว่า เจ้าของกรรมสิทธิ์ และให้หมาย ความรวมถึงผู้ครอบครองสัตว์หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแล ไม่ว่าจะได้รับมอบหมายจากเจ้าของกรรมสิทธิ์ หรือผู้ซึ่งได้รับมอบ
หมายจากเจ้าของกรรมสิทธิ์ให้ ดูแลด้วย “องค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์” หมายความว่า คณะบุคคลหรือนิติบุคคล ซึ่งขึ้นทะเบียนเป็นองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ตามพระราชบัญญัตินี้ “สถานสงเคราะห์สัตว์” หมายความว่า สถานที่สําหรับใช้เลี้ยงสัตว์ หรือสถานที่สําหรับใช้ในการให้ความช่วยเหลือหรืออภิบาลสัตว์ที่ถูกทอดทิ้ง สัตว์ที่ไม่มีเจ้าของ หรือสัตว์ ที่
ถูกกระทําการทารุณกรรม หมวด ๕ การป้องกันการทารุณกรรมสัตว์ มาตรา ๒๐ ห้ามมิให้ผู้ใดกระทําการอันเป็นการทารุณกรรมสัตว์โดยไม่มีเหตุอันสมควร มาตรา ๒๑ การกระทําดังต่อไปนี้ ไม่ถือว่าเป็นการทารุณกรรมสัตว์ตามมาตรา ๒๐ (๑) การฆ่าสัตว์เพื่อใช้เป็นอาหาร ทั้งนี้ เฉพาะสัตว์เลี้ยงเพื่อใช้เป็นอาหาร (๒) การฆ่าสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการ
ควบคุมการฆ่าสัตว์และจําหน่ายเนื้อสัตว์ (๓) การฆ่าสัตว์เพื่อควบคุมโรคระบาดตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ (๔)
รวบรวมเนื้อหาโดย UFA369 เว็บเกมส์ UFABET อันดับ 1 ของไทย
สมัคร แทงบอล และ คาสิโนออนไลน์ ที่ดีที่สุด
|