[x] ปิดหน้าต่างนี้
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป   
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
เมนูหลัก
ติดต่อสอบถาม
blog สมาชิก
สถิติผู้เขียน blog 10 อันดับ
wave
[ มือใหม่ ]
2
admin
[ มือใหม่ ]
2
orean
[ มือใหม่ ]
2
KAT
[ มือใหม่ ]
1
yuy
[ มือใหม่ ]
1
aTon
[ มือใหม่ ]
1
fang
[ มือใหม่ ]
1
film
[ มือใหม่ ]
1
mild
[ มือใหม่ ]
1
Donus
[ มือใหม่ ]
1
บทความ blog ล่าสุดโดย
เพลงคริสต์มาสtortae
การดูแลรักษาสุภาพ ให้แข็งแรงaTon
ประเพณีวันเข้าพรรษาmild
พบจุดที่หนาวที่สุดในโลกเเห่งใหม่ !!orean
พบจุดที่หนาวที่สุดในโลกเเห่งใหม่ !!orean
อาเซียนDonus
การวาดภาพสีนำ้lovepop-123456
อาเซียนmikekung02
ลดความอ้วนสูตรนางเอก 5 กิโลกรัมใน 1 สัปดาห์yuy
ปรากฏการณ์ธรรมชาติMin-Mintra
ไลน์ โรงเรียนศรัทธาฯ

ติดต่อ สอบถาม

poll

   คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร


  1. ดีมาก
  2. ดี
  3. ปานกลาง
  4. แย่
  5. แย่มาก

  

   เว็บบอร์ด >> >>
ยาแก้ไอ มีกี่แบบ  VIEW : 843    
โดย 51515151515151

UID : ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว : 6
ตอบแล้ว :
เพศ :
ระดับ : 2
Exp : 13%
เข้าระบบ :
ออฟไลน์ :
IP : 171.4.222.xxx

 
เมื่อ : เสาร์ ที่ 11 เดือน มกราคม พ.ศ.2563 เวลา 22:12:28   

อาการไอเป็นกลไกการตอบสนองของร่างกายต่อสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในระบบทางเดินหายใจ การไอจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์ แต่ในบางครั้งโรคหรือยาบางอย่างกลับมีผลทำให้เกิดอาการไอมากเกินกว่าปกติ ซึ่งอาจเพียงทำให้เกิดความรำคาญหากไอไม่รุนแรงและหายได้อย่างรวดเร็ว แต่ถ้าไออย่างรุนแรงและยาวนานอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บของระบบทางเดินหายใจ และอาจส่งผลถึงกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายที่ต้องใช้ในการไอด้วย ซึ่งวิธีการรักษาอาการไอที่ดีที่สุดคือ การกำจัดที่สาเหตุของอาการไอ เช่น การเลิกสูบบุหรี่ การหลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการแพ้ เป็นต้น

หากกล่าวถึงยาที่ทำให้เกิดอาการไอ ยาสองกลุ่มสำคัญที่ควรรู้จัก ได้แก่

ยาลดความดันโลหิต กลุ่มเอซีอีอินฮิบิเตอร์ (ACE inhibitors) ซึ่งใช้เป็นยารักษาโรคหัวใจวายและใช้ป้องกันความเสื่อมของไตในผู้ป่วยเบาหวานอีกด้วย ยากลุ่มนี้มักทำให้เกิดอาการไอแห้งๆ ในผู้ป่วยร้อยละ 20 ซึ่งโดยทั่วไปไม่จำเป็นต้องดูแลรักษาหากไอไม่มากและผู้ป่วยทนได้ แต่หากไอมากจนทนไม่ได้อาจจำเป็นต้องเปลี่ยนไปใช้ยากลุ่มอื่นทดแทน ผู้ป่วยที่ใช้ยาแล้วมีอาการไอไม่ควรหยุดยาเอง เนื่องจากยามีความสำคัญต่อการควบคุมความรุนแรงของโรคที่ทำการรักษาอยู่ ควรแจ้งแพทย์เพื่อทำการปรับเปลี่ยนยาที่เหมาะสมต่อไป

ยารักษาโรคกระดูกพรุน กลุ่มบิสฟอสโฟเนต (Bisphosphonates) ซึ่งโดยความเป็นจริงแล้ว ยา กลุ่มนี้ไม่ได้มีผลทำให้เกิดอาการไอถ้าใช้ยาอย่างถูกต้อง โดยรับประทานก่อนอาหารมื้อเช้าครึ่งถึงหนึ่งชั่วโมง (ขึ้นกับชนิดของตัวยา) หลังรับประทานยาห้ามเอนตัวลงนอนหรือทำกิจกรรมใดๆ ที่อาจจะทำให้เกิดการไหลย้อนของยาเข้าสู่หลอดอาหาร เนื่องจากยากลุ่มนี้มีผลระคายเคืองหลอดอาหารโดยตรง หากไม่ปฏิบัติตามวิธีข้างต้นอาจทำให้หลอดอาหารโดนทำลาย เกิดอาการแสบหน้าอก ไออย่างรุนแรงและไอเป็นเลือดได้

จะเห็นว่าการรักษาอาการไอที่เกิดจากตัวอย่างยาทั้งสองกลุ่มนี้ ทำได้โดยหลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการไอด้วยการหยุดยาหรือปฏิบัติตัวให้ถูกต้องเมื่อจะต้องใช้ยา แตกต่างจากอาการไอที่เกิดจากอาการแพ้หรือการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ซึ่งอาจจำเป็นต้องได้รับยาแก้แพ้หรือยาฆ่าเชื้อร่วมด้วย เพื่อช่วยให้หายจากอาหารไอได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น แต่บางครั้งก็อาจมีความจำเป็นต้องใช้ยาแก้ไอด้วยเช่นกัน ซึ่งการจะเลือกชนิดและประเภทของยาแก้ไอได้อย่างถูกต้องนั้น จำเป็นแบ่งประเภทของอาการไอให้ได้ในเบื้องต้น ว่าเป็นอาการไอแบบมีเสมหะหรืออาการไอแห้ง เนื่องจากหากใช้ยาไม่ถูกกับประเภทของอาการไอ นอกจากยาจะช่วยบรรเทาอาการไอไม่ได้แล้ว อาจทำให้อาการไอรุนแรงมากขึ้นก็ได้

แทงบอลฟรี ไม่ต้องฝาก ถอนได้ 2020
กับเว็บเกมส์ UFABET อันดับ 1 ในเอเชีย